ชื่อ-นามสกุล :
|
อ.ดร. วิสันติ เลาหอุดมโชค
Lect.Dr. Wisanti Laohaudomchok
|
|
ตำแหน่ง :
|
หัวหน้าภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
|
สถานที่ทำงาน :
|
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
420/1 ถ.ราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.: 0 2644 4070 ต่อ 102
E-mail: wisanti.lhk@mahidol.ac.th
Website: www.wisanti.net
|
ประวัติการศึกษา :
|
|
2531 - 2535 |
ปริญญาตรี - วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
|
2540 - 2542 |
ปริญญาโท - Master of Science (M.S.) in Industrial Health
มหาวิทยาลัยมิชิแกน (University of Michigan - School of Public Health)
Ann Arbor, MI, สหรัฐอเมริกา
[ โดยทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.) ประเภทบุคคลทั่วไป ประจำปี 2540 ]
|
|
2548 - 2553 |
ปริญญาเอก - Doctor of Science (Sc.D.) in Environmental Health, concentrating in Occupational Health
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University - School of Public Health)
Boston, MA, สหรัฐอเมริกา
[ โดยทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.) ประเภทข้าราชการ ประจำปี 2547 และทุนโครงการวิจัยจาก NIOSH, U.S.A. ]
|
ประวัติการทำงาน :
|
|
2536 - 2540 |
นักวิชาการสาธารณสุข (ระดับ 3-4) กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข |
|
2542 - 2548 |
นักวิชาการแรงงาน (ระดับ 5-6) สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน |
|
2553 - 2561 |
นักวิชาการแรงงาน (ระดับชำนาญการ-ชำนาญการพิเศษ) กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน |
|
2561 - ปัจจุบัน |
อาจารย์ประจำ ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
|
ประวัติการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน :
|
|
• |
เคยได้รับทุนฝึกปฏิบัติงานวิจัยด้านการประเมินอันตรายต่อสุขภาพ (Health Hazards Evaluation) ณ สถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแห่งสหรัฐอเมริกา (National Insitute for Occupational Safety and Health; NIOSH) (มิ.ย. - ก.ค. 2541) |
|
• |
เคยเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร Graduate Summer Session in Occupational Epidemiology จัดโดย University of Michigan – School of Public Health (ก.ค. - ส.ค. 2542) |
|
• |
เคยได้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น (JICA) เข้าร่วมฝึกอบรมและศึกษาดูงานหลักสูตร Working Environment Improvement Technology ณ ประเทศญี่ปุ่น (ส.ค. - ก.ย. 2545) |
|
• |
เคยได้รับทุน Fellowship จาก Korea Occupational Safety and Health Agency (KOSHA) เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ และฝึกอบรมด้านการพัฒนางานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ณ ประเทศเกาหลีใต้ รวม 3 ครั้ง (มิ.ย. - ก.ค. 2556, พ.ค. 2557 และ ก.ค. 2560) |
|
• |
เคยไปราชการต่างประเทศ ร่วมคณะผู้บริหารระดับสูงในการประชุมเจรจาเชิงนโยบาย/ศึกษาดูงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในหลายประเทศ เช่น สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี สเปน เยอรมนี ญี่ปุ่น เกาหลี จีน และประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียน รวมกว่า 30 ครั้ง |
|
• |
เคยได้รับทุนฝึกอบรมหลักสูตรสำหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) ของสำนักงาน ก.พ. และไปศึกษาดูงานการบริหารภาครัฐของอาเซียน (พ.ย. - ธ.ค. 2556) |
|
• |
เคยได้รับทุน Talent Network เข้าร่วมการฝึกอบรมและศึกษาดูงานตามหลักสูตรการศึกษานโยบายการดำเนินงานภาครัฐ และการพัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารและความเป็นผู้นำ สำหรับเตรียมเป็นผู้บริหารรุ่นใหม่ ณ National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS) ประเทศญี่ปุ่น (พ.ค. - มิ.ย. 2558) |
|
• |
ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารแรงงานระดับกลาง (นบร.) ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (2558) |
|
• |
ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรทางวิชาการที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น การพัฒนางานวิจัยในงานอาชีวอนามัย การพัฒนาและบริหารจัดการระบบสารสนเทศด้านอาชีวอนามัย การป้องกันอันตรายจากรังสี ระดับ 2 และระดับก้าวหน้า การประเมินความเสี่ยงในสถานที่ทำงาน ฯลฯ |
|
ประวัติการทำงานอื่นๆ และประสบการณ์พิเศษในสายวิชาชีพ :
|
|
• |
ประสบการณ์ด้านการปฏิบัติงานและบริหารงานภาครัฐ โดยเคยรับราชการสายงานวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ณ กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย และกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน รวมกว่า 25 ปี |
|
• |
เคยเป็นผู้แทนไทยในการประชุมเจรจาระหว่างประเทศหลายครั้ง เช่น
– การประชุมภายใต้กรอบเอเชีย-ยุโรป (ASEM) หัวข้อยุทธศาสตร์ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
– การประชุมเครือข่ายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของอาเซียน (ASEAN-OSHNET) ระหว่างปี 2555–2561
– การประชุมเครือข่ายสารสนเทศความปลอดภัยและอาชีวอนามัยขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO-CIS Network)
|
|
• |
เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการศึกษา วิเคราะห์ ประสานงานขับเคลื่อนการให้สัตยาบันอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 187 ว่าด้วยกรอบเชิงส่งเสริมการดำเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จนกระทั่งประเทศไทยให้สัตยาบันอนุสัญญาดังกล่าวเป็นผลสำเร็จเมื่อปี 2559 |
|
• |
เคยดำรงตำแหน่งวิเทศสัมพันธ์ อุปนายกฝ่ายบริการ และอุปนายกฝ่ายวิชาการ สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน (2554–2558) |
|
• |
เคยดำรงตำแหน่งปฏิคม และผู้ช่วยเลขาธิการ สมาคมการยศาสตร์ไทย (2554–2557) |
|
• |
เคยร่วมเป็นอนุกรรมการรับรองระบบของสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (MASCI) (2556–2558) |
|
• |
เคยร่วมเป็นกรรมการจัดทำร่างมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาการยศาสตร์ และสาขานาโนเทคโนโลยี รวมกว่า 10 เรื่อง |
|
• |
เคยเป็นวิทยากรบรรยายภายใต้หลักสูตรอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ และหลักสูตรอบรมพนักงานตรวจความปลอดภัย หลายหัวข้อและหลายรุ่น |
|
• |
เคยเป็นอาจารย์พิเศษ ที่ปรึกษา กรรมการวิทยานิพนธ์ กรรมการจัดทาชุดวิชา กรรมการพิจารณาหลักสูตรด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของสถาบันการศึกษาหลายแห่ง |
|
ผลงานทางวิชาการ :
|
|
งานจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ |
|
• |
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. สถานการณ์การดำเนินงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย – Occupational Safety and Health in Thailand. กองความปลอดภัยแรงงาน, 2555, 2558, 2561 (จัดพิมพ์เป็นฉบับภาษาไทยและฉบับภาษาอังกฤษ) |
|
• |
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. คู่มือการตรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านเคมี. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน, 2543 (ISBN 974-7874-54-7) |
|
• |
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. คู่มือความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรังสี. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน, 2544 (ISBN 974-7874-88-1) |
|
• |
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน, 2546 (ISBN 974-9652-29-0) |
|
• |
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ตำราชุดวิชาการควบคุมและจัดการมลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือนในงานอุตสาหกรรม (หน่วยที่ 5). (จัดพิมพ์ปี 2562) |
|
• |
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ตำราชุดวิชาการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (หน่วยที่ 2). (จัดพิมพ์ปี 2562) |
|
• |
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ตำราชุดวิชากฎหมายและมาตรฐานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (หน่วยที่ 13 และ 15). (จัดพิมพ์ปี 2562) |
|
• |
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ตำราชุดวิชาการตรวจวัดและประเมินทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (หน่วยที่ 7 และ 10). (จัดพิมพ์ปี 2563) |
|
• |
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ตำราชุดวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (หน่วยที่ 15). (อยู่ระหว่างจัดพิมพ์) |
|
งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ |
|
• |
Laohaudomchok W, et al. Assessment of Occupational Exposure to Manganese and Other Metals in Welding Fumes by Portable X-ray Fluorescence Spectrometer. J. Occupational and Environmental Hygiene, 7(8), 2010, p. 456-465. |
|
• |
Laohaudomchok W, et al. Toenail, Blood, and Urine as Biomarkers of Manganese Exposure. J. Occupational and Environmental Medicine, 53(5), 2011, p. 506-510. |
|
• |
Laohaudomchok W, et al. Neuropsychological Effects of Low-Level Manganese Exposure in Welders. NeuroToxicology, 32(2), 2011, p. 171-179. |
|
• |
Chaikittiporn C, Laohaudomchok W, Weik KMMK. Improving Occupational Safety and Health of Myanmar Migrant Workers in Thailand. Asian-Pacific Newsletter on Occupational Health and Safety, 19(1), 2012, p. 10-13. |
|
• |
Kongtip P, Nankongnab N, Chaikittiporn C, Laohaudomchok W, Woskie S, Slatin C. Informal Workers in Thailand: Occupational Health and Social Security Disparities. New Solutions, 25(2), 2015, p. 189-211. |
|
• |
Laohaudomchok W, et al. Pesticide Use in Thailand: Current Situation, Health Risks, and Gaps in Research and Policy. Human and Ecological Risk Assessment: An International Journal, 27(5), 2021, p. 1147-1169. |
|
• |
Wongsakoonkan W, Boonyayothin V, Tangtong C, Pengpumkiat S, Laohaudomchok W, Phanprasit W. Colorimetric Pad for Low-concentration Formaldehyde Monitoring in Indoor Air. J. Health Research, 2021. |
|
• |
Phanprasit W, Konthonbut P, Laohaudomchok W, Tangtong C, Sripaiboonkij P, Ikäheimo T, Jaakkola J, Nayha S. Workplace Cold and Perceived Work Ability: Paradoxically Greater Disadvantage among High- than Low-educated Poultry Industry Workers in Thailand. Frontiers in Public Health, 2021. |
|
• |
Kongtawelert A, Buchholz B, Sujitrarath D, Laohaudomchok W, Kongtip P, Woskie S. Prevalence and Factors Associated with Musculoskeletal Disorders among Thai Burley Tobacco Farmers. Int. J. Environ. Res. Public Health 2022, 19, 6779. |
|
• |
Phanprasit W, Chotiphan C, Konthonbut P, Laohaudomchok W, Ikäheimo T, Jaakkola J, Nayha S. Active Commuting and Work Ability: A Cross-sectional Study of Chicken Meat Industry Workers in Thailand. Int. J. Industrial Ergonomics 2022, 91(11):103339. |
|
• |
Laohaudomchok W, Phanprasit W, Konthonbut P, Tangtong C, Sripaiboonkij P, Ikäheimo T, Jaakkola J, Nayha S. Self-Assessed Threshold Temperature for Cold among Poultry Industry Workers in Thailand. Int. J. Environmental Research and Public Health 2023, 20(3):2067. |
|